วันพุธที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2553

คำสั่ง view

คำสั่ง View
View เป็นคำสั่งที่ใช้ในการปรับเปลี่ยนมุมมอง การย่อหรือขยายขนาดของพื้นที่งาน รวมถึงเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและเส้น Grid ด้วย









1. Screen mode คือ ใช้แสดงจอภาพ
โหมดการมองภาพ
นอกจากกระดานวาดแบบปกติ เพื่อความเหมาะสมกับการทำงานโปรแกรมยังได้เตรียมโหมดการแสดงผลเอาไว้อีก 3
โหมดโดยสามารถเปลี่ยนเป็นโหมดต่างๆ ได้จากการกดปุ่ม สลับไปเรื่อยๆ






























2. การใช้ Extras
Extras สามารถสั่งให้ซ่อนหรือแสดง Extras ที่เกี่ยวกับงานที่กำลังทำอยู่ทั้งหมดได้โดยการ
ใช้คำสั่งเมนู View-->Extras และเมื่อต้องการกลับมาใช้ Extras ให้เรียกใช้คำสั่ง
view-->Extras อีกครั้ง










2. การใช้ View > Show > Layer Edges






-View > Show > Selection Edges คือ ใช้แสดงเส้น Selection (ในกรณีที่สร้างเส้น Selection ไว้ หรือยังไม่มีการ Deselect)








- View > Show > Target Path คือ ใช้แสดงเส้น Path (ในกรณีที่สร้างเส้น Path ไว้ และต้องอยู่ใน Layer ที่สร้าง Path นั้นๆด้วย)






























-View > Show > All คือ ใช้แสดงตัวช่วยต่างๆทั้งหมด








-View > Show > None คือ ใช้ซ่อนตัวช่วยต่างๆทั้งหมด











View > Rulers คือ ใช้แสดงไม้บรรทัดช่วยวัดระยะ







View > Snap ใช้กำหนดคุณสมบัติ Snap (การเคลื่อนย้ายวัตถุไปลงตัวพอดีกับพิกัดระยะต่างๆ)





View > Snap To > Guides ใช้กำหนดให้การเคลื่อนย้ายวัตถุไปลงตัวพอดีกับระยะ เส้น Guides




-View > Snap To > Grid ใช้กำหนดให้การเคลื่อนย้ายวัตถุไปลงตัวพอดีกับระยะ เส้น Grid






-View > Snap To > Slices ใช้กำหนดให้การเคลื่อนย้ายวัตถุไปลงตัวพอดีกับระยะ เส้น Slices






-View > Snap To > Document Bounds ใช้กำหนดให้การเคลื่อนย้ายวัตถุไปลงตัวพอดีกับระยะ ขอบของ Document




-View > Snap To > All ใช้กำหนดให้การเคลื่อนย้ายวัตถุไปลงตัวพอดีกับระยะ ของขอบเส้นทุกรูปแบบ





-View > Snap To > None ใช้กำหนดให้การเคลื่อนย้ายวัตถุไม่มีการไปลงตัวพอดีกับระยะใดๆเลย






View > Lock Guides คือ ใช้ล็อคเส้น Guide ทั้งหมด ทำให้ไม่สามารถเลื่อนตำแหน่งของเส้น Guide ได้








View > Clear Guides คือ ใช้ลบเส้น Guide ออกทั้งหมด








View > New Guide ใช้สร้างเส้น Guide ขึ้นมา และจะมี Dialog New Guide ขึ้นมา
(Orientation ใช้กำหนดรูปแบบของเส้น Guide ให้เป็นแนวนอนหรือแนวตั้ง
Position ใช้กำหนดระยะของตำแหน่งเส้น Guide ที่สร้างขึ้น (ดูจากระยะของไม้บรรทัด)









View > Lock Slices ใช้ล็อคเส้น Slices ทั้งหมด ทำให้ไม่สามารถเลื่อนตำแหน่งหรือปรับขนาดของเส้น Slices ได้








View > Clear Slices คือ ใช้ลบเส้น Slices ออกทั้งหมด

วันอังคารที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2553

การสร้างภาพด้วย Photoshop cs 5

1.การสร้างจุดเด่นรูปภาพ
ขั้นตอนที่ 1 เลือกรูปภาพที่ต้องการใช้งานขึ้นมา 1 รูป
ขั้นตอนที่ 2 กด Ctrl + J เพื่อ Copy Layer รูปภาพเพิ่มขึ้นมาอีกเป็น 2 Layer
ขั้นตอนที่ 3 ปลดล็อคที่ Background
ขั้นตอนที่ 4 ไปที่แถบเมนู Image > Adjutments > Desaturate
ขั้นตอนที่ 5 ไปที่เครื่องมือ Magnetic Lasso Tool เลือกตรงส่วนที่จะให้เป็นจุดเด่น
ขั้นตอนที่ 6 ไปที่ Layer Copy แล้วคลิก Delete ก็จะได้จุดเด่นของรูปภาพ

2. Content-Aware
ขั้นตอนที่ 1 เลือกรูปภาพที่ต้องการใช้งานขึ้นมา 1 รูป
ขั้นตอนที่ 2 ไปที่แถบเครื่องมือ Polygonal Lasso Tool
ขั้นตอนที่ 3 ไปที่แถบเมนู Edit > Fill ไป Content-Aware เลือก Opacity เป็น 95%
เป็นอันเสร็จ

3. การตัดส่วนเกินของรูป
ขั้นตอนที่ 1 เลือกรูปภาพที่ต้องการใช้งานขึ้นมา 1 รูป
ขั้นตอนที่ 2 ไปที่แถบเมนู Filter > Liquify ติ๊กที่ Show Mesh
ขั้นตอนที่ 3 เลือกที่เครื่องมือ Forward Warp ดึงให้ส่วนที่ต้องการยุบเข้าไป เสร็จแล้วกด เป็นอันเสร็จ
(เทคนิค) การทำให้รูปกลับมาเหมือนเดิมทั้งหมด คือ กด Ctrl + Alt

4. การทำภาพลายเส้น
ขั้นตอนที่ 1 เลือกรูปภาพที่ต้องการใช้งานขึ้นมา 1 รูป
ขั้นตอนที่ 2 กด Ctrl + J เพื่อ Copy Layer รูปภาพเพิ่มขึ้นมาอีกเป็น 2 Layer
ขั้นตอนที่ 3 ไปที่แถบเมนู Image > Adjutments > Invert
ขั้นตอนที่ 4 ไปที่เครื่องมือด้านขวา ตรงคำว่า Normal เปลี่ยนเป็น Color Dodge
ขั้นตอนที่ 5 ไปที่แถบเมนู Filter > Blur > Gaussian Blur ให้ปรับข้างล่างเป็น 2 แล้ว OK
ขั้นตอนที่ 6 กด Ctrl + Shift + Alt + E
ขั้นตอนที่ 7 ไปที่แถบเครื่องมือ Image > Adjutments > Theshold ปรับเป็น 240
เป็นอันเสร็จ

5. การทำ HDR Toning
ขั้นตอนที่ 1 เลือกรูปภาพที่ต้องการใช้งานขึ้นมา 1 รูป
ขั้นตอนที่ 2 ไปที่แถบเครื่องมือ Image > Adjutments > HDR Toning ปรับตั้งค่าตามที่ต้องการแล้วกด OK เป็นอันเสร็จ

6. การทำภาพให้เป็นภาพหลอก
ขั้นตอนที่ 1 เลือกรูปภาพที่ต้องการใช้งานขึ้นมา 1 รูป
ขั้นตอนที่ 2 กด Ctrl + J เพื่อ Copy Layer รูปภาพเพิ่มขึ้นมาอีกเป็น 2 Layer
ขั้นตอนที่ 3 ไปที่แถบเครื่องมือ Image > Mode > Lab Color แล้วเลือก Don’t Flatten
ขั้นตอนที่ 4 ไปที่แถบเครื่องมือด้านขวา คลิกตรงคำว่า CHANNELS
ขั้นตอนที่ 5 ไปที่แถบเมนู Image > Adjutments > Curves ปรับแสงตามต้องการแล้ว
กด OK เป็นอันเสร็จ

7. การทำบาโค๊ด
ขั้นตอนที่ 1 ไปที่ File > New ความกว้าง 150 ความสูง 60 เลือก Transparent
ขั้นตอนที่ 2 เทสีขาวบน Layer
ขั้นตอนที่ 3 ไปที่แถบเมนู Filter > Noise > Add Noise เปลี่ยนเป็น 400 ติ๊กที่ Monochromatic แล้ว OK
ขั้นตอนที่ 5 ไปที่แถบเมนู Filter > Blur > Motion Blur บน 90 ล่าง 999
ขั้นตอนที่ 6 ไปที่แถบเมนู Filter > Sharpen > Sharpen Edges
ขั้นตอนที่ 7 เพิ่ม Layer ข้างล่าง
ขั้นตอนที่ 8 ไปที่แถบเครื่องมือ Rectangular Marquee Tool นำมาตีเป็นสี่เหลี่ยมข้างล่างทำเหมือนบาโค๊ดแล้วเทสีขาวลงไปเลย
ขั้นตอนที่ 9 ไปเลือกที่แถบเครื่องมือ Horizontal Type Tool แล้วพิมพ์ตัวเลขใส่ได้เลยเป็นอันเสร็จ

8. การทำตาให้โตและใส่ขนตา
ขั้นตอนที่ 1 เลือกรูปภาพที่ต้องการใช้งานขึ้นมา 1 รูป
ขั้นตอนที่ 2 ไปที่แถบเครื่องมือ Brush > Load Brush ไปโหลดเอา Brush ขนตามา
ขั้นตอนที่ 3 ไปที่แถบเมนู Filter > Liquify
ขั้นตอนที่ 4 ไปที่แถบเครื่องมือด้านขวา คลิกเครื่องมือที่ชื่อว่า Bloat Tool แล้วไปวางที่ลูกตาจะทำให้ตาโตขึ้น แล้ว กด OK
ขั้นตอนที่ 5 ไปที่แถบเครื่องมือ Brush เลือกขนตาที่ต้องการใช้ ก่อนจะใส่ขนตาต้องเพิ่ม Layer ก่อนทุกครั้ง ถ้าจะทำอีกข้างอีก ก็เพิ่ม Layer ขึ้นมาอีก แล้วจึงใส่ขนตา
ขั้นตอนที่ 6 การทำตาให้ดำ ไปที่แถบเครื่องมือ Brush Tool เลือกแบบวงกลมสีดำแล้วไปวางที่ลูกตา ลูกตาจะเป็นสีดำโต เป็นอันเสร็จ

วันพฤหัสบดีที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2553

ขั้นตอนวิธีการทำ ใบปลิว ด้วย photoshop cs5

ขั้นตอนที่ 1 เปิด layer Background ขึ้นมาใหม่ โดยไปที่ File New แล้วตั้งค่า width=450
Height=300 พื้นหลังสีขาว

ขั้นตอนที่ 2 เปิดภาพที่ต้องการขึ้นมา แล้วนำมาวางไว้

ขั้นตอนที่ 3 เปิด Layerใหม่ ขึ้นมาด้านล่างรูปที่ต้องการใช้ลงสีขาวใน Layer นี้

ขั้นตอนที่ 4 ใน Layer นี้ใช้ Reatangular Marquee Tool ลากทำ Selaction ด้านนอกของรูปภาพจาเพื่อ Inverse จุด Selaction ให้อยู่รอบนอก แล้วกด Delete

ขั้นตอนที่ 5 กลับขึ้นไปที่ Layer ที่เป็นรูป กด Ctrl+E เพื่อ Merge Down (รวมภาพ) กับภาพสีขาวที่ทำไว้เมื่อกครู่

ขั้นตอนที่ 6 ดับเบิ้ลคลิก ที่ Layer นี้เพื่อเปิด Layer style ขึ้นมาเลือก Drop Shadow ปรับแต่งเงาตามใจชอบเลย

ขั้นตอนที่7 จากนั้นไปที่ Edit > Transform > Perspective ดึงช่วงล่างเล็กน้อย

ผลจะได้แบบนี้

ขั้นตอนที่8 จากนั้นไปที่ Edit > Transform > Rotate 90 CW

ผลของ Edit > Transform > Rotate 90 CW

ขั้นตอนที่9 จากนั้นไปที่ Filter > Distort > Shear และจากนั้นปรับความ โค้งงอ ของภาพตามต้องการ






ผลของ Shear


ผลของ Edit > Transform > Rotate 90 CW






ใช้Edit > Transform > Rotate 90 CW กลับภาพจนเป็นแนวเดิม
เป็นอันเสร็จจะได้ใบปลิวเป็นรูปเราเอง




วันจันทร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2553

code php อัพโหลดไฟล์



Upload ไฟล์นี้มาที่ Server:





$Upload_Dir = "d:"; //กำหนดว่าจะให้ copy ไฟล์ที่มาจากเครื่องผู้ใช้ไปที่ใด ระบุที่นี่ได้ครับ
$Max_File_Size = 100000; //กำหนดขนาดไฟล์ที่ใหญ่ที่สุดที่อนุญาตให้ upload มาที่ Server มีหน่วยเป็น byte
$File_Type_Allow = array("application/x-zip-compressed" /*.zip*/,
"text/plain" /*.txt*/,
"image/bmp" /* .bmp, .ico*/,
"image/gif" /* .gif*/,
"image/pjpeg" /*.jpg, .jpeg*/,
"image/jpeg" /* .jpg, .jpeg*/); //กำหนดประเภทของไฟล์ว่าไฟล์ประเภทใดบ้างที่อนุญาตให้ upload มาที่ Server

function validate_form($file_input,$file_size,$file_type) { //เป็น function ที่เอาไว้ตรวจสอบว่าไฟล์ที่ผู้ใช้ upload ตรงตามเงื่อนไขหรือเปล่า
global $Max_File_Size,$File_Type_Allow;
if ($file_input == "none") {
$error = "ไม่มี file ให้ Upload";
} elseif ($file_size > $Max_File_Size) {
$error = "ขนาดไฟล์ใหญ่กว่า $Max_File_Size ไบต์";
} elseif (!check_type($file_type,$File_Type_Allow)) {
$error = "ไฟล์ประเภทนี้ ไม่อนุญาตให้ Upload";
} else {
$error = false;
}

return $error;
}

function check_type($type_check) { //เป็นฟังก์ชัน ที่ตรวจสอบว่า ไฟล์ที่ upload อยู่ในประเภทที่อนุญาตหรือเปล่า
global $File_Type_Allow;
for ($i=0;$i if ($File_Type_Allow[$i] == $type_check) {
return true;
}
}
return false;
}

$error_msg = validate_form($userfile,$userfile_size,$userfile_type); // ตรวจดูว่า ไฟล์ที่ upload ตรงตามเงื่อนไขหรือเปล่า
if ($error_msg) {
echo $error_msg;
} else {
if (copy($userfile,$Upload_Dir."/$userfile_name")) { //ทำการ copy ไฟล์มาที่ Server
echo "ไฟล์ Upload เรียบร้อย";
} else {
echo "ไฟล์ Upload มีปัญหา";
}
}
?>

วันอาทิตย์ที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2553

code php ระบบสมาชิก

login.html

member ระบบสมาชิก












ชื่อผู้ใช้ :
รหัสผ่าน :

   







chkmember.php

$user_reg=$_POST[user_reg];
$pass_reg=$_POST[pass_reg];

if ($user_login=="" or $pass_login==""){
echo "

ERROR : กรุณากรอกข้อมูลให้ครบน่ะค่ะ

";exit();
}
include "connect.php";//ติดต่อฐาานข้อมูล
$sql="select*from tb_member where username='$user_login'
and password='$pass_login'";//ตารางฐานข้อมูล
$result=mysql_db_query($dbname,$sql);
$num=mysql_num_rows($result);
mysql_close();

if ($num<=0){
echo "

ERROR : Username หรือ Password ไม่ถูกต้อง

";
} else {
session_start();
$_SESSION [sess_userid]=session_id();
$_SESSION [sess_username]=$user_login;
header("Location:main.php");
}
?>


main.php

วันพุธที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2552

การติดตั้ง Appserv-win32.2.5.9

ขั้นตอนการติดตั้ง Appserv มีขั้นตอนดังนี้ คือ เข้าไปที่โปรแกรม Folder Too จากนั้นทำการรันโปรแกรม Appser-win32-2.5.9 หลังจากการรันโปรแกรมจะแสดงหน้าต่างเริ่มต้นการติดตั้งให้กดปุ่ม Next จากนั้นขึ้นหน้าต่างให้ยอมรับการใช้งานแล้วกดปุ่ม I Agree แล้วเลือกตำแหน่งที่จะลงโปรแกรมให้เลือกทุกช่องแล้วกดปุ่ม Next ให้ใส่ Passwordต้องใส่ทั้งสองช่อง รอจนติดตั้งเเสร็จสิ้น แล้วกดปุ่ม Finish

วันจันทร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2552

ความหมายคำศัพท์

1.database หมายถึง : ฐานข้อมูล แหล่งที่รวบรวมข้อมูลไว้เพื่อใช้สำหรับการค้นคว้า หรือนำมาใช้; แฟ้มข้อมูลอย่างหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยระเบียน (record) หรือตาราง (table) ระเบียนแต่ละระเบียน ต่างก็ประกอบไปด้วย field (หรือ column) ต่างๆ

2.DBMS [data base management system] หมายถึง : มักใช้อักษรย่อว่า DBMS ซอฟแวร์ชนิดหนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่เตรียมข้อมูลให้พร้อมและเก็บรักษาไว้ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ หรือเรียกออกมาจากฐานข้อมูล เป็นต้น DBMS เป็นตัวประสาน (inteface) ระหว่างโปรแกรม ผู้ใช้ และข้อมูลในฐานข้อมูล

3.Database Administrators : DBAs หมายถึง : มักใช้อักษรย่อว่า DBA ผู้บริหารฐานข้อมูล

4.Database Development หมายถึง ใช้ตัวย่อว่า DBMS (อ่านว่าดีบีเอ็มเอส) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญด้วย

5.Data Definition Language : DDL หมายถึง ภาษาที่ใช้สำหรับนิยามข้อมูล

6.Data Interrogation หมายถึง การสืบค้นข้อมูล ความสามารถในการสืบค้นฐานข้อมูลเป็นผลประโยชน์หลักของระบบจัดการฐานข้อมูล ผู้ใช้สามารถใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลสำหรับการขอสารสนเทศจากฐานข้อมูล โดยการใช้ภาษาสอบถาม (Query Language) หรือตัวสร้างรายงาน (Report Generator) ซึ่งทำให้สามารถรับคำตอบทันทีในรูปแบบของการแสดงทางจอภาพหรือรายงาน

7.Graphical and Natural Queries หมายถึง กราฟิกและธรรมชาติการค้นหาผู้ใช้ ( และผู้เชี่ยวชาญสารสนเทศ) หลายรายลำบากที่จะแก้ไขวลีของ SQL และคำถามภาษาฐานข้อมูลอื่นๆ ดังนั้นโปรแกรมสำเร็จรูปฐานข้อมูลส่วนใหญ่จึงเสนอวิธีการชี้และคลิกส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface : GUI) ซึ่งง่ายต่อการใช้และใช้ซอฟต์แวร์แปลให้เป็นคำสั่ง SQL หรือโปรแกรมสำเร็จรูปอื่นที่อาจใช้ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) ที่คล้ายกับการสนทนาภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นๆ

8.Application Development หมายถึง วงจรการพัฒนาระบบ ให้มีขั้นตอนการทำงานที่รวบรัดมากขึ้น มีการเลือกเครื่องมือ (Tools) และเทคนิค (Techniques) ต่างๆ เพื่อช่วยในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจนั้น ดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว

9.Data Manipulation Language : DML หมายถึง ภาษาจัดการข้อมูล ภาษาที่ใช้สำหรับจัดการข้อมูลภายในฐานข้อมูล ได้แก่การเรียกค้น เพิ่ม ลบ และปรับปรุงฐานข้อมูล

10.Subject Area Database : SADE หมายถึง ฐานข้อมูลซับเจ็กแอเรีย

11.Aultical Database หมายถึง ฐานข้อมูลวิเคราะห์ เก็บข้อมูลและสารสนเทศที่ดึงมาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการและฐานข้อมูลภายนอก ประกอบด้วยข้อมูลสรุปและสารสนเทศที่จำเป็นต่อผู้จัดการองค์กรและผู้ใช้

12.Multidimensional Database หมายถึง ระบบฐานข้อมูลหลายมิติ

13.Data Warehouses หมายถึง ศูนย์รวมของข้อมูลที่จัดให้อยู่ในลักษณะที่สะดวกต่อการนำไปวิเคราะห์โดยง่าย ตัวอย่างเช่น การวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับยอดขาย อาจมีองค์ประกอบจากลูกค้า, พนักงานขาย, ระยะเวลา, ประเภท และชนิดของสินค้า ซึ่งข้อมูลอาจมาจากหลายๆ ระบบ

14.Distributed Databases หมายถึง ฐานข้อมูลแบบกระจาย

15.End User Databases หมายถึง ฐานข้อมูลผู้ใช้ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลต่างๆ ที่พัฒนาโดยผู้ใช้ที่สถานีปลายทาง เช่น ผู้ใช้อาจจะมีเอกสารอิเล็กทรอนิกส์หลายๆ สำเนาที่ได้ดาวน์โหลดจาก World Wide Web จากโปรแกรมสำเร็จรูปประมวลผลคำ หรือรับจากไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรืออาจจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่เกิดจากการใช้แผ่นตารางทำการ (Spreadsheet) และโปรแกรมประยุกต์ระบบจัดการฐานข้อมูล

16.Field หมายถึง ฟีลด์, เรื่อง เป็นส่วนหนึ่งของระเบียน (record) ซึ่งเก็บข้อมูลเฉพาะชนิดใดชนิดหนึ่งไว้เป็นส่วนหนึ่งของระเบียนนั้น ตัวอย่าง field (ฟีลด์) หรือ เรื่อง เช่น ในระเบียนที่มีชื่อว่า EMPLOYEE อาจมีฟีลด์หรือเรื่องต่างๆ อยู่ภายในระเบียนนั้น เช่น NAME, LASTNAME, ADDRESS, HIRE DATE, SALARY, TITLE, DEPARTMENT เป็นต้น

17.Record หมายถึง : บันทึก , เก็บรักษาข้อมูลไว้ในแฟ้มข้อมูลเป็นต้น ; ระเบียนโครงสร้างของข้อมูล ซึ่งเก็บรวบรวม เรื่อง (field) ต่างๆ ไว้ในระเบียน (record) field แต่ละ field จะมีชื่อของมันเอง

18.Table หมายถึง จะเป็นการนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มาร่วมกัน เช่น เรคอร์ดลฟูกค้า ก็จะเก็บฟิลด์ข้อมูลของลูกค้าทั้งหมดที่ประกอบด้วยชื่อ ที่อยู่ หรือ หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น

19.Entity หมายถึง สิ่งที่สามารถระบุได้ในความเป็นจริง และต้องการทำการจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องด้วย โดยสิ่งนั้นอาจเป็นรูปธรรมที่สามารถมองเห็นได้ เช่น หนังสือระบบฐานข้อมูล นาย ศ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นต้น หรืออาจเป็นนามธรรมที่ไม่สามารถมองเห็นได้ เช่น จำนวนวันลาพักผ่อนของพนักงาน วันหยุดราชการ เป็นต้น ก็ได้

20.InfraStucture Management หมายถึง การจัดการ InfraStucture